|
|
|
การสื่อสิ่งพิมพ์มีลักษณะพิเศษหลายประการทำให้สื่อสิ่งพิมพ์ยังคงเป็นสื่อที่มีความสำคัญอย่างมากในปัจจุบันแม้มีผู้ตั้งข้อสังเกตว่าการใช้สื่อสิ่งพิมพ์จะลดน้อยลง
และจะหายไปจากบรรณพิภพเนื่องจากเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะ สื่ออินเทอร์เน็ตจะเข้ามาแทนที่
อย่างไรก็ตาม ข้อสังเกตข้างต้นยังไม่เป็นความจริงในเวลา นี้เพราะ
ข้อจำกัดในการเข้าถึงเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ของสังคมไทย ในที่นี้จะขอกล่าวถึงลักษณะพิเศษของสื่อสิ่งพิมพ์ที่ทำให้สื่อสิ่งพิมพ์ยังมีความสำคัญอยู่เวลานี้
ดังนี้ (วิชัย พยัคฆโส. 2542 : 17)
|
|
|
|
|
เป็นสิ่งที่มีราคาถูก
เมื่อเปรียบเทียบกับสื่อมวลชนประเภทอื่นๆ |
|
สื่อสิ่งพิมพ์เป็นสื่อมวลชนที่มีราคาถูกที่สุด |
|
|
|
|
สื่อสิ่งพิมพ์เสนอเรื่องราวที่สามารถเก็บรักษาไว้เป็นหลักฐานได้ |
|
คงสภาพนานเมื่อประสงค์อ่านหรืออ้างอิงก็สามารถทำได้ |
|
|
|
|
สื่อสิ่งพิมพ์เมื่อซื้อมาแล้วจะเปิดอ่านเมื่อใดก็ได้แล้วแต่อารมณ์
เรื่อง |
|
อารมณ์
เรื่องที่ลงในหนังสือพิมพ์มีหลายรส |
|
|
|
|
|
|
สื่อสิ่งพิมพ์เสนอเรื่องราวที่สามารถเก็บรักษาไว้เป็นหลักฐานได้คงสภาพ |
|
นานเมื่อประสงค์อ่านหรืออ้างอิงก็สามารถทำได้ |
|
|
|
|
สื่อสิ่งพิมพ์ให้ข่าวสารและรายละเอียดได้อย่างลึกซึ้งมากกว่า |
|
วิทยุโทรทัศน์ |
|
|
|
|
สื่อสิ่งพิมพ์เป็นสื่อมวลชนที่แตกต่างไปจากสิ่งพิมพ์ประเภทอื่นข่าวสาร |
|
ต่างๆเป็นเรื่องใหม่น่าสนใจชักจูงให้อยากอ่าน
อ่านแล้วเกิดความรู้และเข้าใจ เหตุการณ์ต่างๆ
มีข้อมูลในการตัดสินใจบางกรณี ทำให้มองเหตุการณ์ต่างๆด้วยทัศนะอันกว้าง
และพัฒนา ความรู้สึกนึกคิดเป็นอย่างดี |
|
|
|
|
|
เมื่อเปรียบเทียบหนังสือพิมพ์กับสื่อมวลชนประเภทอิเล็กทรอนิกส์ในด้านการเสนอข่าวหรือเรื่องราวต่างๆ
แล้วพบว่าหนังสือพิมพ์มีข้อได้เปรียบดังนี้ คือ |
|
|
|
ด้านความเชื่อถือได้
(Reliability) |
|
|
|
คนเรามักจะมั่นใจในสิ่งที่ได้อ่านมากกว่าสิ่งที่ได้ยิน
และแม้ว่าโทรทัศน์จะทำให้เราเห็นภาพก็จริง แต่เป็นการเห็นภาพเพียงแวบเดียว
สื่อสิ่งพิมพ์จึงให้ความมั่นใจต่อผู้รับข่าวสารในประการนี้มากกว่าสื่อมวลชนประเภทอื่น
|
|
|
ด้านความสมบูรณ์
(Completeness) |
|
สื่อสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือพิมพ์ย่อมให้รายละเอียดของข่าวสารได้มากกว่าวิทยุหรือโทรทัศน์
|
ด้านการอ้างอิง
(Deferability) |
|
ผู้อ่านสื่อสิ่งพิมพ์สามารถกลับมาอ่านเรื่องราวที่ได้อ่านแล้วอีกครั้งหรือหลายครั้งก็ได้
และอ่าน ในเวลาใดก็ได้ส่วนวิทยุและโทรทัศน์นั้นผู้ฟังและผู้ชมจะต้องไม่พลาดเวลาออกอากาศ
สื่อสิ่งพิมพ์ประเภทหนังสือพิมพ์อาจลงข่าวเดียวกันติดต่อกันหลายวันและ
ทุกครั้งมี ีรายละเอียดเพิ่มเติม ซึ่งอาจจะน่าเบื่อสำหรับผู้รู้แต่เป็นการกระตุ้น
มวลชนให้เกิดความ ตื่นเต้นเกิดอารมณ์ร่วมมีการเรียนรู้ ได้เป็นอย่างดี
และช่วยเผยแพร่ต่อๆกันไป วิทยุอาจ รายงานข่าวซ้ำกัน ได้ก็จริงแต่มี
โอกาสน้อยที่จะเติมรายละเอียด ส่วนโทรทัศน์มีโอกาส เสนอข่าว ซึ่งน้อยกว่าวิทย
ุ และมีโอกาสขยายความได้น้อยกว่าหนังสือพิมพ์ |
|
|
|
|
|
|
|